E-mail : onsiri_sil@dusit.ac.th , o_silasai@hotmail.com
Website :
โทรศัพท์ :
02 244 5690 – 1
ความเชี่ยวชาญ : Computer Networking, Security, Biometrics, Data Analytics

การศึกษา
ค.ศ. 2008 : M.IT (Information Technology), Queensland University of Technology, Australia
พ.ศ. 2546 : ค.บ. (ภาษาอังกฤษ) สถาบันราชภัฏเลย
พ.ศ. 2541 : ศษ.บ (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


งานวิจัย
อรศิริ ศิลาสัย และ วัจนา ขาวฟ้า. (2563). การพัฒนาของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยการสอนแบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ร่วมกับบทเรียนออนไลน์ของนักศึกษา หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
อรศิริ ศิลาสัย. (2561). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการจัดการเรียนการสอนแบบทีมเป็นฐานในรายวิชาการศึกษาเฉพาะเรื่องทางด้านเทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
วัจนา ขาวฟ้า และ อรศิริ ศิลาสัย. (2560). การใช้เทคนิคการทำเหมืองข้อมูลในการตัดสินใจเลือกสายการเรียนที่เหมาะสมของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
อรศิริ ศิลาสัย และวัจนา ขาวฟ้า. (2558). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้เทคนิคแบบแบ่งกลุ่มร่วมกับเทคนิคการสอนแบบถามตอบรายบุคคล ในรายวิชาการศึกษาเฉพาะเรื่องทางด้านเทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
วัจนา ขาวฟ้า และอรศิริ ศิลาสัย. (2558). ระบบสารสนเทศช่วยวิเคราะห์พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาโดยใช้ RFID กรณีศึกษานักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
วัจนา ขาวฟ้า และอรศิริ ศิลาสัย. (2557). ผลของการปรับเปลี่ยนรูปแบบวิธีการสอนในรายวิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
อรศิริ ศิลาสัย และวัจนา ขาวฟ้า. (2557). ผลสัมฤทธิ์จากการเสริมความรู้ทางด้านธุรกิจผ่านมุมมองของผู้ออกแบบฐานข้อมูลให้กับนักศึกษาในรายวิชาฐานข้อมูลเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
วิชชา ฉิมพลี สุระสิทธิ์ ทรงม้า อรศิริ ศิลาสัย พิชญ์สินี พุทธิทวีศรี และ ดลใจ ฆารเรือง. (2555). การออกแบบและพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนโคกโคเฒ่า อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.


การประชุมวิชาการ/งานตีพิมพ์
ธิเบศ กุลพักตรพงษ์ ภควัต ลิปิมงคล และ อรศิริ ศิลาสัย. 2564. การจัดกลุ่มบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปโดยใช้เทคนิคการจัดกลุ่มเพื่อค้นหาความเสี่ยงในการเกิดโรคไต. การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย The Asia Undergraduate Conference on Computing: AUCC ครั้งที่ 9. หน้า 624 – 631
นัฐยา สุวรรณเหลา วัจนา ขาวฟ้า และ อรศิริ ศิลาสัย. 2564. ระบบแจ้งเตือนการหมดอายุและการเสื่อมสภาพของยาด้วยใช้การเทคโนโลยีไอโอที. การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย The Asia Undergraduate Conference on Computing: AUCC ครั้งที่ 9. หน้า 841 – 848
Onsiri Silasai and Wachana Khowfa. 2020. The Study on Using Biometric Authentication on Mobile Device. NU. Internation Journal of Science. Vol. 17 No.1 (January 2020 – June 2020) Page. 90 – 110
กฤตพล พันสีนาม ชนกันต์ ศิลปเจริญ ปวริศ ทองเอก และ อรศิริ ศิลาสัย. (2563). การเปรียบเทียบเทคนิคเหมืองข้อมูลเพื่อหาความแม่นยำในการทำงานของ ระบบเปิด – ปิดไฟอัตโนมัติ โดยใช้ Google Assistant การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย The Asia Undergraduate Conference on Computing: AUCC ครั้งที่ 8 หน้า 312 – 316
Onsiri Silasai and Wachana Khowfa. (2020). The use of Biometric Authentication on Mobile Device in The 1th Asia Joint Conference on Computing 2020
วัจนา ขาวฟ้า และ อรศิริ ศิลาสัย. (2562). แบบจำลองการเลือกสายการเรียนที่เหมาะสมของนักศึกษาด้วยเทคนิคการจำแนก ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่ 14. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ปิยะพร ฤทธิ์เรือง สถิต ไกรกลิ่น และ อรศิริ ศิลาสัย. (2562). ระบบ Control by Yourself. การประชุมวิชาการระดับชาติ The 7th ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2019. หน้า 1606 – 1611. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
Wachana Khowfa and Onsiri Silasai. (2562). The Efficiency of using Salt Against Password Attacking. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้. ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2562. หน้า 217 – 227
ยศนนท์ ยศยิ่งยง กิตติภพ ลิ้มนิรมล และ อรศิริ ศิลาสัย. (2561). ระบบเช็คชื่อเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาด้วยเทคโนโลยี RFID. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต 2018 ครั้งที่ 3. หน้า 74 – 80. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
อรศิริ ศิลาสัย และ วัจนา ขาวฟ้า. (2561). ระบบ CAAS เพื่อติดตามพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา โดยใช้ RFID. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 3 และ การประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยประชาชื่น ครั้งที่ 4. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. หน้า 39.
กมลทิพย์ ถีติปริวัตร์ พรศิริ รักษาสุข และ อรศิริ ศิลาสัย. (2561). Salting the Password: การเพิ่มประสิทธิภาพแก่รหัสผ่าน. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ The 6th ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2018. กรุงเทพ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. หน้า 316 – 320.
กลินท์ โอชะกะ ธนพร สายเนตร และ อรศิริ ศิลาสัย. (2561). FollowGPS: ระบบติดตามรถจักรยานยนต์. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ The 6th ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2018. กรุงเทพ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. หน้า 429 – 434.
สิทธา สายใหม่ ธีรเศรษฐ์ ทองเอื้อสมบูรณ์ และ อรศิริ ศิลาสัย. (2561). ไมโครคอนโทรเลอร์สำหรับจัดการฟาร์มอัจฉริยะ Microcontroller Smart Farm. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ The 6th ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2018. กรุงเทพ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. หน้า 436 – 440.
Wachana Khowfa and Onsiri Silasai. (2017). The Integration of Association Rules and AHP in Cloud Service Selection. in The International Journal of Applied Engineering Research (IJAER). Vol.12 No.24 pp.15814 – 15820.
Wachana Khowfa Onsiri Silasai and Chatchada Kaewpruksapimon. (2015). QoS Based Service Selection in Cloud Environment: A Review in The International Journal of Soft Computing and Its Application. Vol. 7, No. 3, November 2015. P. 114 – 125
Wachana Khowfa Onsiri Silasai and Chatchada Kaewpruksapimon. (2015). A Review of QoS based Service Selection in Cloud Environment in the proceeding of The International Workshop on Big Data Analytics – Multi Strategy Learning Analytics for Big Data, Kuala Lumper, Malaysia. P.24
อรศิริ ศิลาสัย ปฏิพล ตปนียะกุล และ จิรกร แสนวิจิตร. (2558). Midi Staff ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต: วันนักวิจัยวิทยาศาสตร์ 2558 ครั้งที่ 2. หน้า 36 – 37
อรศิริ ศิลาสัย กรวิชญ์ เกลี้ยงมีศรี และ สุทธิพร สันติวิจิตรกุล. (2558). Smart Reminder: ระบบบันทึกการนัดหมายและการแจ้งเตือนบนโทรศัพท์มือถือระบบปฏิบัติการ Android ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต: วันนักวิจัยวิทยาศาสตร์ 2558 ครั้งที่ 2. หน้า 38 – 39
วัจนา ขาวฟ้า และ อรศิริ ศิลาสัย. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการทำโครงงานรายวิชาสัมมนางานวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มศรีอยุธยา ครั้งที่ 5. หน้า 18 – 19
จิตรพัฒน์ อังสาชน วัจนา ขาวฟ้า อรศิริ ศิลาลัย และ สุวัจชัย กมลสันติโรจน์. (2555). มัคคุเทศก์เสมือนบนโทรศัพท์มือถือ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ งานวิจัย และพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 4. หน้า 290 – 295
วิชชา ฉิมพลี สุระสิทธิ์ ทรงม้า อรศิริ ศิลาสัย พิชญ์สินี พุทธิทวีศรี และ ดลใจ ฆารเรือง. (2555). การออกแบบและพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนโคกโคเฒ่า อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ การประชุมวิชาการบริหารการศึกษาสัมพันธ์ แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 34 และการประชุมวิชาการและแสดงผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3
Banthita Sivaporn Onsiri Silasai Pichsinee Puttitaweesri and Suwatchai Kamonsantiroj. (2011). An Intelligent E – Learning System for Students with ADHD and Autism in the proceeding of The International Conference on Computing and Information Technology the 7th. Thailand


ตำรา/เอกสารประกอบการสอน
อรศิริ ศิลาสัย. 2560. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
อรศิริ ศิลาสัย. 2560. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ชั้นสูง. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
อรศิริ ศิลาสัย. 2559. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
อรศิริ ศิลาสัย. 2558. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการออกแบบและบริหารจัดการเครือข่ายคอมพิวเตอร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

ผลงานอื่น ๆ
พ.ศ. 2564 : วิทยากร โครงการพัฒนาทักษะการบริหารการเงินในยุคดิจิทัล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
พ.ศ. 2564 : วิทยากร โครงการการส่งเสริมทักษะด้านการใช้ Digital Literacy เพื่อสู่มาตรฐานสากล (IC3) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม
พ.ศ. 2564 : ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความวิจัย ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความวิจัย การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระหว่างสถาบัน (ASTC) ครั้งที่ 8
พ.ศ. 2554 : รางวัล “Good Paper Awards” ในการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย ครั้งที่ 9 (The 9th Asia Undergraduate Conference on Computing : AUC2)
พ.ศ. 2564 : Session Co-Chair การประชุมวิชาการปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ 9
พ.ศ. 2564 : วิทยากร โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ Data Visualization เพื่อการนำเสนอข้อมูลอย่างมืออาชีพ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
พ.ศ. 2564 : ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความวิจัย การประชุมวิชาการปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ 9
พ.ศ. 2563 : ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความวิจัย การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย The Asia Undergraduate Conference on Computing: AUCC ครั้งที่ 8
พ.ศ. 2562 : วิทยากร โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาคลังข้อมูลสำหรับนักศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2562 : ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความวิจัย การประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต ครั้งที่ 4
พ.ศ. 2562 : ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความวิจัย การประชุมวิชาการปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ 7
พ.ศ. 2562 : วิทยากร โครงการความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การยกระดับสมรรถนะวิชาชีพครูปฐมวัยมุ่งสู่การพัฒนาความเป็นเลิศ Super Teacher ในหัวข้อ ดิจิทัลคิดส์ พลิกโฉมห้องเรียน (Digital Kids for the Flipped Classroom)”
พ.ศ. 2562 : อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “ระบบแจ้งเตือนการหมดอายุและการเสื่อมสภาพของยา” ได้รับทุนสนับสนุน ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ที่ 21 (The Fourteenth National Software Contest: NSC2019)
พ.ศ. 2562 
: อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “หุ่นยนต์รถบังคับด้วยเสียง” ได้รับทุนสนับสนุน ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ที่ 21 (The Fourteenth National Software Contest: NSC2019)
พ.ศ. 2561  : วิทยากร โครงการความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การยกระดับสมรรถนะวิชาชีพครูปฐมวัยมุ่งสู่การพัฒนาความเป็นเลิศ Super Teacher ในหัวข้อ ดิจิทัลคิดส์ พลิกโฉมห้องเรียน (Digital Kids for the Flipped Classroom)”
พ.ศ. 2561  : วิทยากร โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการพัฒนาคลังข้อมูลสําหรับนักศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2561 : Session Chair การประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต ครั้งที่ 3
พ.ศ. 2561
: ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความวิจัย การประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต ครั้งที่ 3
พ.ศ. 2561
: Session Co-Chair การประชุมวิชาการ งานวิจัย และพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 10 (ECTI_CARD)
พ.ศ. 2561 
: วิทยากร โครงการบูรณาการวิชาการด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์สู่ธุรกิจ SME อุตสาหกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา
พ.ศ. 2559 : วิทยากร โครงการพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยสวนดุสิต กิจกรรมที่ 7 ระบบการจัดเก็บและสืบค้นเอกสารอย่างเป็นระบบ
พ.ศ. 2557 : อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “กิน เที่ยว ดื่ม” เข้ารอบคัดเลือก 50 ทีม ในโครงการเถ้าแก่น้อยเทคโนโลยี 2014
พ.ศ. 2557 : วิทยากร โครงการ “เคล็ด (ไม่) ลับสู่สังคมธุรกิจออนไลน์” คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยปทุมธานี
พ.ศ. 2557
 : อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “Taxi Point” ได้รับทุนสนับสนุน ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ที่ 16 (The Sixteenth National Software Contest: NSC2014) ในมหกรรมประกวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11 พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556 : ส่งผลงาน “Flashpacker Unseen: Kho Rattanakosin” เข้าร่วมแข่งขัน โดยได้รับทุนสนับสนุนและเข้ารอบชิงชนะเลิศ ในโครงการเถ้าแก่น้อยเทคโนโลยี 2013
พ.ศ. 2556 : อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “สาด…สนุก” ได้รับทุนสนับสนุนและผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ที่ 15 (The Fifteenth National Software Contest: NSC2013) ในมหกรรมประกวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 12 พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555 : อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “ปิ๊น ปิ๊น ตุ๊ก ตุ๊ก” ได้รับทุนสนับสนุน ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ที่ 14 (The Fourteenth National Software Contest: NSC2012) ในมหกรรมประกวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11 พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554 : วิทยากร โครงการอบรมเพื่อยกระดับคุณภาพผู้บริหารสถานศึกษาและครูทั้งระบบตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 รุ่นที่ 1 (กลุ่มสาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จากโรงเรียนในกลุ่มภาคใต้)